บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2021

การช่วยตัวเองคือวิธีปลดปล่อยอารมณ์ทางเพศ

  การช่วยตัวเองคือวิธีปลดปล่อยอารมณ์ทางเพศ และช่วยเติมเต็มความรู้สึกพึงพอใจหรือความสุขในการสำเร็จความใคร่ที่ปลอดภัยวิธีหนึ่ง อีกทั้งการช่วยตัวเองไม่ก่อให้เกิดโรคหรือปัญหาสุขภาพตามที่หลายคนเข้าใจผิด ผู้ชายและผู้หญิงสามารถสำเร็จความใคร่ได้ด้วยตัวเอง โดยการช่วยตัวเองของผู้หญิงและผู้ชายมีวิธีที่ต่างกัน การช่วยตัวเอง ดังนี้ วิธีช่วยตัวเองสำหรับผู้ชาย ผู้ชายส่วนใหญ่มักสำเร็จความใคร่ด้วยตัวเอง โดยการช่วยตัวเอง วิธีช่วยตัวเองสำหรับผู้ชายนั้น มักใช้มือข้างที่ถนัดสัมผัสอวัยวะเพศ โดยแต่ละคนมีวิธีจับองคชาตแตกต่างกัน ผู้ชายส่วนมากมักใช้มือกำท่อนอวัยวะเพศตัวเองไว้ทั้งหมด หรือบางคนก็ใช้เฉพาะนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้หรือนิ้วกลางจับท่อนอวัยวะเพศตัวเอง จากนั้นจึงเริ่มถูอวัยวะเพศช้า ๆ เบา ๆ แล้วเร่งการกระตุ้นให้เร็วและแรงขึ้น นอกจากนี้ ผู้ชายหลายคนยังดูภาพโป๊ที่มีอยู่ตามอินเทอร์เน็ต หนังสือ ปกนิตยสาร หรือปกภาพยนตร์โป๊ระหว่างสำเร็จความใคร่ด้วย อีกทั้งการดูภาพยนตร์โป๊ก็ถือเป็นเรื่องปกติสำหรับผู้ชาย แต่บางคนก็กังวลว่าอาจหมกมุ่นกับการมีเพศสัมพันธ์แบบในภาพยนตร์มากเกินไป อย่างไรก็ตาม ผู้ชายส่วนใหญ่ไม่มีปัญหาและ

อาการของหูดหงอนไก่

  อาการของหูดหงอนไก่ การแสดงอาการ : คนส่วนใหญ่ที่มีภูมิคุ้มกันดี หลังจากได้รับเชื้อนี้เข้าสู่ร่างกายแล้วมักจะไม่มีอาการใด ๆ แสดงออกมา ซึ่งประมาณ 80-90% เชื้อเหล่านี้ก็จะถูกกำจัดออกไปได้เองภายใน 2 ปี[4] (ยกเว้นในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ) แต่ก็ยังมีผู้ติดเชื้อบางส่วนที่อาจแสดงอาการออกมาให้เห็นหลังรับเชื้อเข้าไปแล้วหลายเดือนหรือหลายปี จนเกิดเป็นเนื้องอกนูนออกมาอย่างที่เรียกว่า “หูดหงอนไก่” โดยในผู้ชายจะพบ หูดหงอนไก่ ได้น้อยกว่าในผู้หญิงมาก เนื่องจากลักษณะของผิวหนังที่อวัยวะเพศที่ไม่ค่อยมีซอกหลืบหรือความชุ่มชื้นมากเท่าของผู้หญิง อาการของหูดหงอนไก่ : หลังจากเนื้อเยื่อติดเชื้อเอชพีวี (HPV) แล้ว ผู้ติดเชื้อนั้นอาจเป็นได้ทั้ง 3 กรณี กล่าวคือ รอยโรคหายไปได้เอง รอยโรคเป็นอยู่เท่าเดิม หรือรอยโรคเป็นมากขึ้น สำหรับรอยโรคที่เกิดหูดหงอนไก่นั้นอาจทำให้ผู้ป่วยมีอาการคันหรือไม่มีอาการใด ๆ เลยก็ได้ แต่ถ้าเป็นมากก้อนเนื้อหูดก็จะใหญ่ขึ้นและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ทำให้ในผู้ชายอาจมีปัญหาเรื่องปัสสาวะไม่ออก ส่วนในผู้หญิงอาจตามมาด้วยอาการมีเลือดออกหลังจากมีเพศสัมพันธ์ นอกจากนี้ในกรณีของหญิงตั้งครรภ์ หญิงที่มีอาการต

เป็นแผลริมอ่อนมีวิธีดูแลตนเองในเบื้องต้นอย่างไร

 เป็นแผลริมอ่อนมีวิธีดูแลตนเองในเบื้องต้นอย่างไร ควรรักษาแผลเฉพาะที่ด้วยการใช้น้ำเกลือล้าง (เป็นน้ำเกลือสำหรับใช้ล้างแผล) แล้วเช็ดทำความสะอาดแผลให้แห้งอยู่เสมอ ถ้ามีความชื้นอาจมีโรคแทรก  แผลริมอ่อน รับประทานยาแก้ปวดและยาลดไข้ งดมีเพศสัมพันธ์ในขณะมีแผลจนกว่าแผลจะหายเป็นปกติ งดการดื่มแอลกอฮอล์ เพราะเป็นสาเหตุทำให้ขาดสติ จึงเพิ่มโอกาสติดเชื้อจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ทุกชนิดเพิ่มขึ้น เมื่อเป็นโรคนี้ สิ่งที่สำคัญที่สุดคือต้องรักษาเพื่อไม่ให้โรคเกิดขึ้นซ้ำอีก ควรดูแลรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศอยู่เสมอ แผลริมอ่อนป้องกันได้อย่างไร ? แผลริมอ่อนมีวิธีการป้องกันเหมือนกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น ๆ ทั่วไป ดังนี้ ไม่ควรเปลี่ยนคู่นอนบ่อย ควรสวมถุงยางป้องกันทุกครั้งก่อนการมีเพศสัมพันธ์ ไม่ควรมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่เป็นโรคนี้หรือมีบาดแผลบริเวณอวัยวะเพศ รักษาความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณอวัยวะเพศ ผู้ที่เป็นโรคควรงดการมีเพศสัมพันธ์ทุกรูปแบบ

ฉันสามารถใช้เพร็พ (PrEP) ได้หรือไม่ถ้าฉันใช้ยาอื่นๆอยู่

  ฉันสามารถใช้เพร็พ (PrEP) ได้หรือไม่ถ้าฉันใช้ยาอื่นๆอยู่ ใช้ได้ มันมักจะปลอดภัยที่จะใช้เพร็พ (PrEP) และยาอื่นๆในเวลาเดียวกัน แต่คุณควรตรวจสอบกับแพทย์ของคุณทุกครั้ง  เพร็พ ฉันจะได้รับเพร็พ (PrEP) ได้อย่างไร เพื่อที่จะได้รับเพร็พ (PrEP) คุณต้องไปพบแพทย์ที่มีประสบการณ์ด้านเอชไอวีเพื่อดูว่าคุณจะเหมาะสำหรับการใช้เพร็พ (PrEP) หรือไม่ แพทย์จะถามคำถามเกี่ยวกับชีวิตทางเพศของคุณเพื่อดูว่าคุณมีความเสี่ยงสูงในการติดเชื้อเอชไอวีหรือไม่ แพทย์จะเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของคุณเป็นส่วนตัวและเป็นความลับ หากคุณมีความเสี่ยงสูงแพทย์จะกระทำ: •    การตรวจหาเเชื้อเอชไอวี ถ้าผลแสดงว่าคุณมีเชื้อเอชไอวีอยู่แล้วคุณไม่ควรใช้เพร็พ (PrEP) •    การตรวจหาไวรัสตับอักเสบบี หากคุณมีโรคไวรัสตับอักเสบบี ที่เรื้อรังคุณอาจจะต้องพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญก่อนที่คุณจะรู้ว่าคุณสามารถใช้เพร็พ (PrEP) ได้หรือไม่ •    การตรวจไต (จากการตรวจเลือด) เนื่องจากสามารถรับผลกระทบจากยาเพร็พ (PrEP) ได้ •    การตรวจหาการติดเชื้ออื่นๆที่คุณได้รับจากการมี เพศสัมพันธ์ ถ้าหากว่าเพร็พ (PrEP) เหมาะกับคุณ แพทย์จะออกใบสั่งยา และอธิบายวิธีการต่าง ๆ ที่คุณจะ สามารถ

ความแตกต่างระหว่างยา PEP และ PrEP

ความแตกต่างระหว่างยา PEP และ PrEP ยา PEP   เป๊ป  ย่อมาจาก post-exposture prophylaxis เป็นการนำยาต้านไวรัสมาจ่ายให้คนที่เพิ่งจะมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV ให้กินภายใน 72 ชั่วโมงหลังมีความเสี่ยงไม่ว่าจะเป็น ถุงยางอนามัยแตก ถูกข่มขืน พลาดไปมีเพศสัมพันธ์กับคนแปลกหน้าโดยไม่ได้ใส่ถุงยางอนามัย หรือแม้แต่การถูกเข็มตำหรือของมีคมบาดในสถานพยาบาล เพื่อป้องกันไม่ให้ติดเชื้อ HIV โดยจะต้องกินยาอย่างสม่ำเสมอไปเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์หลังจากมีความเสี่ยง ยา PEP ประกอบด้วยยาชนิดไหนบ้าง PEP ประกอบด้วยยาต้านไวรัส 3 ชนิดโดยแพทย์จะเป็นผู้เลือกชนิดให้เป็นรายบุคคลไป ดังนี้ Nevirapine ( NVP ) 200 mg Lamivudine ( 3TC ) 150 mg Stavudine ( d4T ) 30 mg จำเป็นต้องให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาปรับเปลี่ยนสูตรยา PEP ตามความเหมาะสม ในบางรายแพทย์อาจให้ ยา GPO vir Z250mg เพียงตัวเอง ซึ่งในยานี้มีชนิดยาทั้ง 3 ชนิดผสมอยู่ด้วยแล้ว สาเหตุที่ต้องรับยา PEP PEP เป็นยาต้านฉุกเฉินในกรณีการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันและควรเก็บไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉินเท่านั้น ป้องกันแล้วแต่ถุงยางอนามัยเกิดหลุด ถุงแตก ไม่ได้สติขณะมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งอาจเกิดจา

ความแตกต่างระหว่างยา PEP และ PrEP

  ความแตกต่างระหว่างยา PEP และ PrEP ยา PEP   เป๊ป ย่อมาจาก post-exposture prophylaxis เป็นการนำยาต้านไวรัสมาจ่ายให้คนที่เพิ่งจะมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV ให้กินภายใน 72 ชั่วโมงหลังมีความเสี่ยงไม่ว่าจะเป็น ถุงยางอนามัยแตก ถูกข่มขืน พลาดไปมีเพศสัมพันธ์กับคนแปลกหน้าโดยไม่ได้ใส่ถุงยางอนามัย หรือแม้แต่การถูกเข็มตำหรือของมีคมบาดในสถานพยาบาล เพื่อป้องกันไม่ให้ติดเชื้อ HIV โดยจะต้องกินยาอย่างสม่ำเสมอไปเป็นระยะเวลา  4 สัปดาห์หลังจากมีความเสี่ยง ยา PEP ประกอบด้วยยาชนิดไหนบ้าง PEP ประกอบด้วยยาต้านไวรัส 3 ชนิดโดยแพทย์จะเป็นผู้เลือกชนิดให้เป็นรายบุคคลไป ดังนี้ Nevirapine ( NVP ) 200 mg Lamivudine ( 3TC ) 150 mg Stavudine ( d4T ) 30 mg จำเป็นต้องให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาปรับเปลี่ยนสูตรยา PEP ตามความเหมาะสม ในบางรายแพทย์อาจให้ ยา GPO vir Z250mg เพียงตัวเอง ซึ่งในยานี้มีชนิดยาทั้ง 3 ชนิดผสมอยู่ด้วยแล้ว สาเหตุที่ต้องรับยา PEP สาเหตุที่ต้องรับยา PEP PEP เป็นยาต้านฉุกเฉินในกรณีการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันและควรเก็บไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉินเท่านั้น ป้องกันแล้วแต่ถุงยางอนามัยเกิดหลุด ถุ

ขั้นตอนการเข้ารับการตรวจหาเชื้อเอชไอวีเป็นอย่างไร ?

   ขั้นตอนการเข้ารับการตรวจหาเชื้อเอชไอวีเป็นอย่างไร ? ในการตรวจหาเชื้อเอชไอวี ผู้ที่ต้องการตรวจจะต้องลงนามยินยอมเข้ารับการตรวจโดยสมัครใจ จากนั้นผู้ที่ต้องการตรวจจะได้รับคำปรึกษาจากเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์เพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีรวมถึงรับข้อมูลและคำแนะนำเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี โดยพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้แก่ ผู้ที่มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกันกับคู่นอนที่ไม่ทราบผลเลือด การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน บาดแผลสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งจากผู้ไม่ทราบผลเลือด รวมถึงการถูกละเมิดทางเพศ เป็นต้น จากนั้นผู้ที่เข้ารับการตรวจจะถูกเจาะเลือดเพื่อตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีทางห้องปฏิบัติการ  การตรวจเอชไอวี ปัจจุบันการตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ของสถานพยาบาลต่างๆ ได้ใช้ชุดตรวจที่พัฒนาให้มีความไวมากขึ้นหรือรู้จักกันในชื่อว่าน้ำยา Fourth generation มาใช้เป็นชุดตรวจคัดกรองเบื้องต้น โดยสามารถตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อเอชไอวีและแอนติเจนของเชื้อได้ในเวลาเดียวกัน (HIV Ag/Ab combination immunoassay) ทำให้สามารถตรวจพบการติดเชื้อได้เร็วขึ้นกว่าใ

อาการซิฟิลิส

  อาการซิฟิลิส อาการและอาการแสดงของโรคแบ่งตามระยะของการติดเชื้อ  โรคซิฟิลิส  ออกเป็น 3 ระยะได้แก่ ระยะที่ 1 หรือ ระยะเป็นแผล ( Primary Syphilis ) หรือ แผลริมแข็ง จะมีอาการหลังติดเชื้อประมาณ 10-90 วัน ผู้ป่วยจะเริ่มมีตุ่มเล็กๆ ขึ้นตามผิวหนังบริเวณที่ติดเชื้อ เช่น ขึ้นที่อวัยวะเพศ ช่องคลอด อัณฑะ หัวหน่าว หัวนม หรือ ขาหนีบ ก็ได้ แล้วแต่ว่าจะติดเชื้อที่บริเวณใดบ้าง จากนั้น ตุ่มจะขยายกว้างขึ้นและใหญ่ขึ้น แตกออกกลายเป็นแผลกว้าง แผลเป็นรูปกลมหรือ รูปไข่ ก้นแผลคล้ายกระดุม แผลไม่ค่อยเจ็บมาก เรียกว่า “แผลริมแข็ง (chancre)” โดยแผลอาจเป็นแผลเดียวหรือแผลติดกันได้ จากนั้นอีก 1 สัปดาห์เชื้อจะเข้าไปในต่อมน้ำเหลืองทำให้ต่อมน้ำเหลืองโต ซึ่งช่วงนี้หากตรวจก็จะตรวจพบเชื้อในกระแสเลือด แต่แผลจะหายได้เองใน 3- 10 สัปดาห์ ระยะที่ 2 หรือ ระยะออกดอก ( Secondary Stage ) ใช้เวลาเข้าสู่ระยะนี้ 1-3 เดือน ผู้ป่วยจะมีตุ่มนูนคล้ายหูดขึ้นตามฝ่ามือ ฝ่าเท้า และอวัยวะเพศ รวมไปถึงส่วนอื่นๆ ในร่างกายได้ เช่น ขาหนีบ ทวารหนัก บางรายมีอาการเจ็บคอ มีปื้นขาวในปาก เริ่มเป็นไข้ ต่อมน้ำเหลืองบวม เหนื่อยง่าย น้ำหนักลดลง ผมร่วง จากนั้น

การป้องกันโรคหนองใน

  การป้องกันโรคหนองใน   อาการหนองใน อาการที่ตรวจพบ ขึ้นอยู่กับบริเวณที่ติดเชื้อ และจะพบประมาณ 1- 3 วันหลังได้รับเชื้อ เช่น ผู้ชายที่ติดเชื้อจะมีเมือกสีขาวขุ่น หรือ  หนองใน  มีหนองข้นๆ ไหลออกจากท่อปัสสาวะ รอบๆ รูท่อปัสสาวะบวมแดง เวลาปัสสาวะจะขัดๆ และมีอาการเจ็บคอ คอแห้ง ปวดเมื่อยตามเนื้อตามตัวร่วมด้วย บางรายอาจมีไข้ได้ จากนั้น เมื่อเชื้อแพร่กระจายในระบบอวัยวะสิบพันธ์ จะเริ่มมีอาการปวดบวมอัณฑะได้ การติดเชื้อนี้มีผลต่อการมีบุตรยากในระยะยาวด้วย เพศหญิงที่ติดเชื้อ ส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการมากเหมือนเพศชาย พบประมาณ 10 วันหลังรับเชื้อ โดยอาการจะเริ่มมีของเหลวไหลออกมาจากช่องคลอด ประจำเดือนผิดปกติ รู้สึกขัดเวลาปัสสาวะ เจ็บที่กระดุกเชิงกรานเวลามีเพศสัมพันธ์ หรือ บางรายที่ติดเชื้อที่ทหารหนักก็จะมีของเหลวไหลออกมาจากทหารหนัก ร่วมกับอาการผิดปกติทางกาย เช่น เจ็บคอ คอแห้ง เมื่อยเนื้อเมื่อยตัว มีไข้ได้ และหากมีอาการปล่อยไว้ไม่ไปตรวจรักษา เชื้อก็จะแพร่เข้าระบอวัยวะสืบพันธ์และลุกลามไปที่มดลูก ท่อนำไข่และรังไข่ ในที่สุด ทำให้เกิดอุ้งเชิงกรานอักเสบ และเป็นหมันได้ในเวลาต่อมา หนองในแท้-หนองในเทียม ต่างกันอย่างไร โ

5 วิธีรับมือลูกเลือกกิน

  ต้องให้เวลากับลูก ค่อยๆเป็นค่อยๆไป ห้ามบังคับให้กินสิ่งที่เขาไม่อยากกินเด็ดขาด ให้ลองทำเมนูเดิมที่ลูกชอบ โดยค่อยๆ ผสมอาหารที่อยากให้ลูกกินลงไปด้วย เช่น เนื้อสัตว์ ผัก แบบที่ลูกจะไม่รู้สึกปฏิเสธ พอลูกเริ่มคุ้นชินในรสชาติของอาหารเหล่านั้น คุณแม่สามารถเริ่มทำเมนูที่อยากให้ลูกกินและมีประโยชน์เหมาะสมกับช่วงวัยได้แล้ว กีฬาเพิ่มความสูง สร้างสรรค์เมนูการตกแต่งจานให้น่ารับประทาน รสชาติอร่อย มีสีสัน เวลานี้คุณพ่อคุณแม่ต้องอาศัยวิชาศิลปะเพิ่มเติมด้วย เริ่มต้นจากการชวนลูกกิน คุณพ่อคุณแม่ต้องกินให้ดูเป็นตัวอย่าง แล้วบอกลูกว่าอาหารนั้นอร่อยขนาดไหน หาอาหารมาทดแทน เพื่อให้ร่างกายได้รับคุณค่าสารอาหารหลากหลายครบถ้วน 5 หมู่ ยกตัวอย่าง ถ้าลูกกินเนื้อสัตว์ได้น้อย ลองนำเต้าหู้มาทำอาหารแทนเพื่อให้ได้รับโปรตีน หรือถ้าลูกกินผักได้น้อย อาจเสริมเป็นผลไม้หรือน้ำผลไม้แทน เพื่อให้ร่างกายได้รับใยอาหาร วิตามินและแร่ธาตุในปริมาณที่เหมาะสม ให้ลูกมีส่วนร่วมเสนอเมนูที่เขาอยากกิน ถามลูกว่าวันนี้เราจะกินอะไรกันดี หรือพากันเข้าครัวและมอบตำแหน่ง ผู้ช่วยให้เขาได้มีส่วนร่วมในการทำอาหารที่ตนเองกิน จะทำให้ลูกมีความอยากกินอาหาร

วิธีเลือกก๊อกน้ำในครัว หรือก๊อกน้ำอ่างล้างจาน จะเลือกแบบไหนดี

  เอ่ยถึง "ก๊อกน้ำในครัว" อาจฟัง ดูเป็นเรื่องเล็ก ๆ แต่เมื่อถึงวาระครบอายุการใช้งาน หรือต้องยกเครื่องระบบประปาใหม่ และแม้แต่ในเวลาที่คิดอยากเปลี่ยนโฉมห้องครัวให้ไฉไลกว่าเก่าเมื่อใด การเลือกซื้อก๊อกน้ำในครัวอาจกลายเป็นเรื่องใหญ่สำหรับหลายคนไปทันที Kitchen Ideas ฉบับนี้จะพาคุณไปเลือกสรรก๊อกน้ำที่จะช่วยเพิ่มความโดดเด่นมีรสนิยมให้กับห้องครัว และเหมาะกับการใช้งานในแบบของคุณกัน  สินค้าสุขภัณฑ์ โดยปกติแล้วก๊อกน้ำที่มีอยู่ทั่วไปในท้องตลาดนั้นทำขึ้นมาจากโลหะหลากหลายชนิด อาทิ สเตนเลส ทองเหลืองชุบโครเมียม ทองเหลืองชุบทองสองกษัตริย์ หรือที่มีส่วนผสมของทอง 24K หรือนิกเกิล ซึ่งวัสดุแต่ละชนิดมีคุณภาพและราคาที่แตกต่างกันไป โดยก๊อกน้ำสเตนเลสนั้นจัดเป็นวัสดุที่มีอายุการใช้งานยาวนานกว่าวัสดุชนิดอื่น ๆ จึงทำให้มีราคาสูงตามไปด้วย ด้านรูปลักษณ์การใช้งานนั้นก๊อกน้ำในห้องครัวมักได้รับการออกแบบมาให้มีรูปทรงที่สวยงาม และมีความสะดวกสบายในการใช้งาน โดยมีทั้งก๊อกน้ำทรงโค้งคอสูง ก๊อกน้ำทรงฉากคอสูง หรือก๊อกแบบงวงดึงได้พร้อมหัวสเปรย์ ซึ่งเป็นรูปแบบของก๊อกน้ำที่เหมาะสำหรับการใช้งานในห้องครัว นอกจากนี้บริเวณค

การตรวจค่า FPG บ่งบอกโรคเบาหวาน

  การวินิจฉัยโรคเบาหวานและภาวะเสี่ยงต่อเบาหวานนั้น นอกจากสังเกตสัญญาณและอาการต่างๆ ที่บ่งชี้ของโรคแล้ว สิ่งสำคัญคือ การตรวจ FPG (Fasting plasma Glucose) หรือการตรวจระดับน้ำตาลกลูโคสในพลาสม่าขณะอดอาหาร ซึ่งสามารถตรวจหลังงดอาหารเป็นเวลาประมาณ 8 ชั่วโมง เพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรคเบาหวาน และภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน  ปริมาณน้ำตาลในเลือดที่บ่งชี้ว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ วิธีการตรวจคัดกรองเบาหวาน คือการตรวจระดับ FPG (Fasting plasma Glucose) ≥ 126 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ให้ตรวจยืนยันซ้ำด้วย FPG อีกครั้งหนึ่งในวันหรือสัปดาห์ถัดไป ถ้าพบ FPG ≥ 126 มิลลิกรัม/เดซิลิตร  ให้วินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน  กรณีที่ FPG มีค่า 100-125 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ให้วินิจฉัยว่าเป็นภาวะระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหารผิดปกติ (Impaired fasting glucose)  ควรได้รับคำแนะนำให้ป้องกันการเกิดเบาหวานโดยการคุมอาหารและออกกำลังกาย ติดตามวัดระดับ FPG ทุก 1-3 ปี ทั้งนี้ขึ้นกับปัจจัยเสี่ยงที่มีในร่างกายอีกด้วย ปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคเบาหวานที่ควรได้รับการตรวจคัดกรอง ผู้ที่อายุ 35 ปีขึ้นไป อ้วน มีพ่อแม่ หรือพี่น้องที่เป็นโรคเบาหวาน เป็นโรคคว

รักษารูขุมขนกว้างโดยใช้เลเซอร์

  รักษารูขุมขนกว้างโดยใช้เลเซอร์   การรักษาโดยใช้เลเซอร์จะได้ผลที่เร็ว แต่มีข้อเสียคือราคาสูง และอาจเกิดผลข้างเคียงในผู้ที่มี   สามารถรับการรักษาที่โรงพยาบาลหรือคลินิกเวชกรรมภายใต้การดูแลแนะนำของแพทย์ผิวหนังโดยตรง วิธีการรักษาตลอดจนเครื่องมือที่ใช้จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ทำการรักษา ราคาอาจเริ่มต้นตั้งแต่หลักพันต้นๆจนถึงหลักหมื่นกลางๆ ขึ้นอยู่กับเครื่องมือ ชนิดของเลเซอร์ หรือจำนวนครั้งที่เข้ารับการรักษา รวมถึงสถานที่ที่เข้ารับการรักษา หลังทำเลเซอร์ควรหลีกเลี่ยงแสงแดด และใช้ผลิตภัณฑ์ที่อ่อนโยนต่อผิวมากๆ เนื่องจากผิวจะบอบบางมากจึงระคายเคืองง่าย ส่วนผลการรักษาจะดีหรือไม่นั้นนอกจากความชำนาญของแพทย์และเครื่องมือแล้วยังขึ้นอยู่กับสภาพผิวและปัญหาของแต่ละบุคคล บางรายเห็นผลได้ดีตั้งแต่ครั้งแรกหลังทำ หรือในบางรายก็ต้องทำเป็นประจำสม่ำเสมอไปสักระยะจึงเริ่มเห็นผล ปัญหาที่มักเกิดขึ้นคือ คนไข้ไม่ว่างหรือไม่สะดวก หรือทนเจ็บระบมไม่ไหว จึงไปตามนัดบ้างไม่ไปบ้าง ทำให้การรักษาไม่ต่อเนื่องและเห็นผลช้า หรือในบางรายก็หยุดรักษาไปเฉยๆ เมื่อใช้ชีวิตในสภาพแวดล้อมแบบเดิมโดยไม่ดูแลปัญหาเดิมๆที่กลับมา